วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ไม่ลองไม่รู้ - ไอซ์ Feat. หนูนา [Official MV] (+เพลย์ลิสต์)





MV ไม่ลองไม่รู้ - ไอซ์ ศรัณยู feat. หนูนา หนึ่งธิดา จากอัลบั้ม ICE FESTA ดาวน์โหลด กด *123 0014 โทรออก

อยากโดนเป็นเจ้าของ - ไอซ์ ศรัณยู 【OFFICIAL MV】





เพลง : อยากโดนเป็นเจ้าของ
ศิลปิน : ไอซ์ ศรัณยู
ทำนอง : กฤตพจน์ แสงสุวรรณ
เรียบเรียง : พงศภัค ทองเจริญ

...พ่อ...






















วันอาทิตย์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

แค่ล้อเล่น - ป้าง นครินทร์ 【OFFICIAL MV】



เพลง : แค่ล้อเล่น
ศิลปิน : ป้าง นครินทร์
อัลบั้ม : กลางคน
คำร้อง/ทำนอง : นครินทร์ กิ่งศักดิ์
เรียบเรียง : วัฒนกร ศรีวัง

ลองคุย (add friend) : LIPTA feat. Southside [Official Audio]

 



"บางครั้งความรักมันก็ไม่ได้ต้องใช่การต้อ­งเป็นแฟนกันเสมอไป เวลาและโอกาสของชีวิตของคนเราก็อาจไม่ได้ต­รงกันไป บางคนรักกันแทบตายสุดท้ายก็เป็นได้แค่เพื่­อนกัน และเมื่อเรายิ่งโตขึ้นก็ยังพบว่าความรักนั­้นก็ไม่ได้มีรูปแบบเดียว ไม่แน่วันหน้าเราอาจจะได้กลับมารักกันก็เป­็นได้ ไม่ลองคุยกันก่อนหรอ อย่างน้อยเธอก็ได้เพื่อนเพิ่มอีกคนนะ"

บี้ สุกฤษฎิ์ - ระวัง...คนกำลังเหงา Official MV





น่าร๊าก กากกากมากก ก ก ก

โพแทสเซียมฮิวเมท

โพแทสเซียมฮิวเมท



โพแทสเซียมฮิวเมท คือ สารสกัดเข้มข้นจากฮิวมัส ช่วยปรับสภาพดินเหนียวให้คลายตัวออก ในดินทรายจะช่วยอุ้มน้ำ โครงสร้างของดินแข็งแรงทนต่อการชะล้างกัดกร่อนของน้ำ ช่วยให้ดินโปร่ง ร่วนซุย อุ้มน้ำ ระบายน้ำดี น้ำและอากาศถ่ายเทสะดวก รากพืชแผ่ขยายได้ง่าย รักษาความเป็นกรด-ด่างของดินมิให้เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว

ประโยชน์ 
                - ช่วยให้ธาตุอาหารในดินที่มีอยู่แล้วให้อยู่ในรูปที่พืชนำไปใช้ได้ง่าย เพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน
                - เชื่อมอนุภาคดินให้เป็นกลุ่ม เป็นโครงสร้างดินที่ดี ช่วยให้การระบายอากาศ การซึมซาบน้ำของดินดีขึ้น
                - กระตุ้นการแบ่งเซลล์และขยายขนาดเซลล์ พืชเจริญเติบโต ดอกใหญ่ ผลใหญ่เร็วขึ้น
                - กระตุ้นให้รากเจริญงอกงามแผ่กระจาย พืชหาอาหารเก่ง
                - ช่วยเพิ่มอัตราการงอกของเมล็ด ต้นกล้าสมบูรณ์ แข็งแรง
                - เพิ่มอัตราการหายใจ เพิ่มการสังเคราะห์แสง
                - ลดความเครียดเนื่องจากธาตุอาหารไม่สมดุลย์ แร่ธาตุเป็นพิษ ขาดน้ำหรืออากาศ ร้อนจัด หนาวจัด
                - กระตุ้นการดูดซึมน้ำ การไหลเวียนภายในเซลล์พืช ดินอุ้มน้ำได้มากขึ้น ลดการสูญเสียน้ำในดิน
                - เมื่อสลายตัวจะปลดปล่อยไนโตรเจน กำมะถัน และธาตุอาหารเสริมออกมาเป็นประโยชน์ต่อพืชอย่างช้า ๆ

วิธีใช้ 
                - ปรับสภาพดิน ละลายโพแทสเซียมฮิวเมท 3 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ราดลงพื้นดิน
                - ผสมปุ๋ยเคมี คลุกเคล้าโพแทสเซียมฮิวเมท 1,000 กรัม กับปุ๋ยเคมี 100 กิโลกรัม
                - ผสมปุ๋ยหมักปุ๋ยคอก คลุกเคล้าโพแทสเซียมฮิวเมท 100 กรัม กับปุ๋ยหมักปุ๋ยคอก 100 กิโลกรัม
                - คลุกผสมปุ๋ยน้ำชีวภาพ ละลายโพแทสเซียมฮิวเมท 1,000 กรัม กับปุ๋ยน้ำ 100 ลิตร 

ขนาดบรรจุ          1 กิโลกรัม/ขวด  ราคา          200 บาท

                                25กิโลกรัม/กระสอบ ราคา  1,250 บาท

แมลงหางหนีบ

 
แมลงหางหนีบตัวสีดำ
                ชื่อวิทยาศาสตร์ : Euborellia sp.
ชื่อสามัญ : Earwigs
วงศ์ (Family): Carcinophoridae
อันดับ (Order): Dermaptera
               
แมลงหางหนีบเป็นแมลงห้ำที่ช่วยควบคุมประชากรของแมลงศัตรูพืชหลายชนิด โดยกินทั้งไข่และตัวหนอน
 เช่น หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนกออ้อย รวมทั้ง เพลี้ยอ่อนข้าวโพด ไข่และตัวอ่อนของด้วงกุหลาบ นอกจากนี้ยังพบตามแปลงปลูกพืชผักโดยเฉพาะพืชตระกูลกะหล่ำ
พฤติกรรมของแมลงหางหนีบจะหลบซ่อนตัวอยู่ภายในลำต้นและตามซอกกาบใบอ้อยหรือข้าวโพด หรือตามซอกดินที่มีเศษใบไม้ มีความสามารถในการเสาะหาเหยื่อตามซอกมุมได้ดี แมลงหางหนีบจึงเป็นแมลงที่มีศักยภาพ ในการนำไปใช้ควบคุมแมลงศัตรูอ้อยและแมลงศัตรูข้าวโพดอย่างยิ่ง แมลงหางหนีบที่พบส่วนใหญ่ในแปลงข้าวโพด เป็นชนิดสีน้ำตาล Proreus simulans Stallen ส่วนที่พบในแปลงอ้อย เป็นแมลงหางหนีบชนิดสีดำ Euborellia sp.

รูปร่างและลักษณะการเจริญเติบโต
                แมลงหางหนีบ มีการเจริญเติบโตเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะไข่ ตัวอ่อน และตัวเต็มวัย
·       ไข่ - มีลักษณะทรงกลม ผิวเรียบ สีขาวนวล วางไข่เป็นกลุ่มใต้ดิน ไข่ 1 กลุ่ม มีไข่ประมาณ 3040 ฟอง ระยะไข่ 810 วัน
·       ตัวอ่อน - มีรูปร่างคล้ายตัวเต็มวัย แต่มีขนาดเล็กกว่า ระยะตัวอ่อนมี 3 วัย รวมอายุประมาณ 55 วัน
·       ตัวเต็มวัย - ลำตัวสีดำ ไม่มีปีก มีแพนหางเรียบสีดำ มีหนวดแบบเส้นด้าย ตัวเต็มวัยอายุประมาณ 90 วัน
พฤติกรรมการห้ำของแมลงหางหนีบ
                แมลงหางหนีบเข้าทำลายเหยื่อที่เป็นตัวหนอนโดยการใช้แพนหางหนีบให้ตัวหนอนสลบหรือตายก่อน แล้วจึงกัดกินตัวหนอนเป็นอาหาร ถ้าแมลงหางหนีบกินอาหารอิ่มแล้ว มันจะใช้แพนหางหนีบตัวหนอนให้ตายแล้วจะทิ้งไว้โดยไม่กินเป็นอาหารและจะไปห้ำหนอนตัวอื่นต่อไป ส่วนเหยื่อที่เป็นเพลี้ยอ่อน แมลงหางหนีบจะใช้ปากกัดกินโดยตรง
 การนำไปใช้ควบคุมศัตรูพืช

                ปล่อยแมลงหางหนีบตั้งแต่วัย 3 จนถึงตัวเต็มวัยเพื่อควบคุมศัตรูพืช โดยใช้อัตราการปล่อย 1002,000 ตัว/ไร่ (ขึ้นกับปริมาณศัตรูพืชในแปลงปลูกพืช) ปล่อย 12 ครั้ง/ฤดูปลูก

เอกสารอ้างอิง:  http://www.pmc04.doae.go.th/Myweb-2011-data1/03%20Earwigs/03%20earwigs.html